ปลาเสือสุมาตรา Puntigrus tetrazona (Sumatran Tiger Barb)

ชีววิทยา
อยูในตระกูลปลาตะเพียนขนาดเล็ก ลําตัวมีแถบดําพาดขวางหาแถบ สองแถบแรกพาดผานตา และหนาครีบหลัง แถบที่สามพาดผานโคนครีบหลังและสันหลัง แถบที่สี่พาดผานโคน ครีบกนและลําตัว สวนแถบที่หาอยูโคนหาง ครีบหลังและครีบกนมีสีเหลือง มีหนวดที่มุมปากบนหนึ่งคู พฤติกรรมชอบอยูรวมกันเปนฝูง นิสัยกาวราว

วงจรชีวิต
ไขปลาเสือสุมาตราจะฟกออกมาเปนตัวประมาณ ๒๔ ชั่วโมง ขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ำ ลูกปลาแรกฟักจะกินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ลักษณะรูปร่างลูกปลาแรกฟักจะมีเหมือนพ่อแม่พันธุ์
การสืบพันธุ์
ปลาเพศผูจะมีสีสันสดสวย ปากแดง หางแดงครีบแดง สวนเพศเมียมีสีซีดกวาแตมีขนาดลําตัวใหญกวา ขนาดของปลาที่พรอมจะนํามาผสมพันธุจะมีขนาดประมาณ ๓-๕ ซม. ไขปลามีลักษณะเปนไขประเภทเกาะติด สามารถวางไขไดตลอดป หลังจากแมปลาวางไขแลวประมาณ ๒๕ วัน จะสามารถทําการเพาะพันธุไดอีก
อาหาร
กินลูกกุง ลูกน้ำ ลูกไร แมลงน้ำ สัตวน้ำขนาดเล็ก และเศษซากพืชและสัตวเนาเปอย สามารถฝกใหกินอาหารสําเร็จรูปได้
แหล่งที่อยู่อาศัย
เปนปลาที่พบแพรกระจายอยูทั่วไปในแถบทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใตบริเวณหมูเกาะสุมาตรา บอรเนียว กาลิมันตัน มาเลเซีย และประเทศไทย ซึ่งในประเทศไทยพบในบริเวณแมน้ำ ลําธาร และอางเก็บน้ำเกือบทั่วทุกภาค
เอกสารอ้างอิง
(1) http://www.fisheries.go.th/if-m_sarakham/web2/images/kik/smt.pdf
(2) th.wikipedia.org, ปลาเสือสุมาตรา, ออนไลน์, เข้าถึงได้ที่ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2